Health education

รายวิชาสุขศึกษา

โครงงานสุขศึกษาและพลศึกษา

                    เรื่อง
การประเมินสุขบัญญัติ


ผู้จัดทำโครงงาน


1.เด็กหญิงอภิญญา     ไชยบุตร       เลขที่ 14
2.เด็กหญิงวงค์นภา     จันทร์แดง     เลขที่ 39
3.เด็กหญิงศศิธร         ธิโนวงค์        เลขที่ 34
 4.เด็กชายศราวุธ        สิทธิโชค         เลขที่ 1
   5.เด็กชายวริทธิ์ธร     จันทร์เทพ       เลขที่ 17
6.เด็กชายสหภาพ       กิ่งชา              เลขที่ 35
7.เด็กชายปฏิภาน       มารักษ์           เลขที่ 25
8.เด็กชายฤทธิเกียรติ    เพรียรกล้า   เลขที่ 33

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3/5

ครูที่ปรึกษาโครงงาน
นาง  ลาวัณย์   นพพิบูลย์

กลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขตที่  29
โรงเรียนอำนาจเจริญ  ปีการศึกษา  2554
กระทรวงศึกษาธิการ





บทที่  1 บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

              ปัจจุบันกระแสความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีสารสนเทศ 
   ด้านเศรษฐกิจการเมือง   สังคม  และวัฒนธรรม  ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติ  
และค่านิยมของสังคม    ทางด้านวัตถุนิยมและบริโภคนิยม   การที่สังคมไทยและประชาชน
จะก้าวสู่ภาวะของการมีสุขภาพดี  นั้นเป็นสิ่งที่ยากและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาประชาชน
ให้รู้จักการพึ่งตนเองเป็นอันดับแรก  เพราะการที่คนเราจะมีสุขภาพดีได้นั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กั
บการรักษาโดยแพทย์   พยาบาล   เจ้าหน้าที่สาธารณสุข   ยา   เวชภัณฑ์   ตลอดจนเครื่องมือ 
 อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัยแต่เพียงอย่างเดียว  เนื่องจากสิ่งเหล่านั้นเป็นเพียง
การจัดการตามสภาวะของผู้ที่ประสบปัญหาโรคภัยไข้เจ็บในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น  
 ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่ปลายเหตุ  เราจึงควรหาวิธีการป้องกันสุขภาพ    
ไว้ดีกว่าการรักษาเมื่อมีการเจ็บป่วย เราจึงคิดจัดทำโครงงาน  การปะเมินสุขบัญญัติ  
 ขึ้นเพื่อให้ทุกคนตระหนักการดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง  เพื่อที่จะทำให้มีสุขภาพ
ที่แข็งแรและสมบรูณ์

วัตถุประสงค์
             1.เพื่อให้ตระหนักว่าตนเองต้องมีความรับชอบ ดูและสุขภาพของตนเอง
 รู้จักพึ่งตนเอง
          2.เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
          3.เพื่อปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ให้เด็ก เยาวชน 
และประชาชนปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพดีได้


สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า

         ถ้าเราดูและเอาใจใส่สุขภาพของตนเองอย่างสม่ำเสมอ
  หรือตามหลักสุขบัญญัติ สุขภาพของเราจะแข็งแรงและสมบรูณ์


ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
         โรงเรียนอำนาจเจริญ   ระยะเวลาในการทำประมาณ 1 เดือน




บทที่  3
อุปกรณ์และวิธีการดำเนินงาน

อุปกรณ์
          แบบประเมินผลการทดลอง  1 ใบ

วิธีการดำเนินงาน
         1.แจกใบประเมินสุขบัญญัติ
    2.ให้นักเรียนระดับชั้น ม.3 ประเมินสุขบัญญัติ
    3.เก็บใบประเมินสุขบัญญัติ
    4.สรุปผลการประเมินสุขบัญญัติ

                                                               บทที่  5
                                                 สรุปผลการประเมินสุขบัญญัติ
สรุปผลการประเมินสุขบัญญัติ
           การประเมินสุขบัญญัติดำเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ 
เป็นกลวิธีทางด้านสุขศึกษาในการปรับปรุง  แก้ไข  และเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพ
ให้ถูกต้องเหมาะสม  และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้มีความรู้  ความเข้าใจ
ที่เข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพ  โดยการนำแบบประเมินสุขบัญญัติมาเป็น
แนวทางที่จะสร้างค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพที่ดีของเรา  อันเป็นผลดีต่อการส่งเสริมและ
พัฒนาตนให้เติบโตสมวัย  แบบประเมินสุขบัญญัติจะทำให้เรารู้จักดูและตนเองมากขึ้น

ประโยชน์ที่ได้รับ
     1. สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงให้เป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อ
พฤติกรรมสุขภาพที่ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
2. สามรถนำมาใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวัน อันก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ
ของตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
3. เป็นการสร้างความตระหนัก และการมีจิตสำนึกในการรู้จักพึ่งตนเองด้านสุขภาพ
4. เป็นการปลุกฝังการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและมีระบบด้านสุขภาพในทุกเพศทุกวัย
 อันมีผลต่อการป้องกันโรคภัยอันก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย
5. เป็นการเสริมสร้างและปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง นำไปสู่การมีสุขภาพดี
ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม

ข้อเสนอแนะ
          ถ้าต้องการให้มีสุขภาพดีควรทำแบบประเมินสุขบัญญัติเป็นประจำ 
จะก่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของตนเอง
บทที่  4
ผลการประเมินสุขบัญญัติ

แบบการประเมินสุขบัญญัติ

ตอนที่  1 ให้นักเรียนกรอกข้อมูลของตนเอง

นักเรียนระดับชั้น  ม.3 ห้อง…....
เพศ        หญิง          ชาย
วันเกิด
วันที่…..เดือน……….ปี พ.……...
อายุ…….ปี

ตอนที่  2 ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ลงในตารางที่ตรงกับการปฏิบัติตนของนักเรียนตามสุขบัญญัติ


   ที่

                  


                   สุขบัญญัติ
                      
                         การปฏิบัติ


เป็นประจำ
    (4)

 บ่อยครั้ง
    (3)

นานๆ ครั้ง
     (2)

ไม่เคยเลย
    (1)

   1
อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าให้สะอาด




   2
ไว้เล็บและทาเล็บสีต่าง ๆ




   3
แปรงฟันหรือบ้วนปากทุกครั้งหลังอาหาร




   4
รับประทานอาหารที่ตนเองชอบ
เแ็นประจำ




   5
รับประทานขนมกรุบกรอบแทนอาหารมื้อ
หลักเป็นประจำ




   6
ใช้ไหมขัดฟันทำความสะอาดฟัน




   7
มีรักในวัยเรียนทำให้ชีวิตสดชื่น




   8
ทำกิจกรรมร่วมกันกับสมาชิกใน
ครอบครัว




   9
เล่นกีฬาหรือออกกำลังกายให้เหมาะสม
กับตนเอง







  ที่

                 
                   สุขบัญญัติ
                       
                       การปฏิบัติ

เป็นประจำ
     (4)
 บ่อยครั้ง
    (3)
นานๆ ครั้ง
    (2)
ไม่เคยเลย
    (1)
  10
ให้ความร่วมมือต่อชุมชนที่ตนอาศัย




  11
นอนหลับผักผ่อนวันละ  8 ชั่วโมง




  12
ใช้น้ำ  ไฟ  อย่างประหยัด  และคุ้มค่า




  13
ใช้โทรศัพท์มือถือโทรคุยกับเพื่อนทุกคืน




  14
ชอบรับประทานอาหารประเภทผัก
เเละผลไม้




  15
ซื้อยามารักษาตนเองเมื่อมีอาการ
ไม่สบาย







ผลการประเมินสุขบัญญัติ

ประเมินเป็นแบบเปอร์เซ็นต์

ข้อที่ 1 ………… %
ข้อที่ 2 ………… %
ข้อที่ 3 ………… %
ข้อที่ 4 ………… %
ข้อที่ 5 ………… %
ข้อที่ 6 ………… %
ข้อที่ 7 ………… %
ข้อที่ 8 ………… %
ข้อที่ 9 ………… %
ข้อที่ 10 ….......%
ข้อที่ 11 ………..%
ข้อที่ 12 ………..%
ข้อที่ 13 ………..%
ข้อที่ 14 ………..%
ข้อที่ 15 ………..%

ภาพประกอบ

แบบการประเมินสุขบัญญัติ

ตอนที่  1 ให้นักเรียนกรอกข้อมูลของตนเอง

นักเรียนระดับชั้น  ม.3 ห้อง…....
เพศ        หญิง          ชาย
วันเกิด
วันที่…..เดือน……….ปี พ.……...
อายุ…….ปี

ตอนที่  2 ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ลงในตารางที่ตรงกับการปฏิบัติตนของนักเรียนตามสุขบัญญัติ


  ที่

                  


                  สุขบัญญัติ
                      
                         การปฏิบัติ


เป็นประจำ
    (4)

 บ่อยครั้ง
    (3)

นานๆ ครั้ง
     (2)

ไม่เคยเลย
    (1)

   1
อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าให้สะอาด




   2
ไว้เล็บและทาเล็บสีต่าง ๆ




   3
แปรงฟันหรือบ้วนปากทุกครั้งหลังอาหาร




   4
รับประทานอาหารที่ตนเองชอบเป็น
ประจำ




   5
รับประทานขนมกรุบกรอบแทนอาหารมื้อ
หลักเป็นประจำ




   6
ใช้ไหมขัดฟันทำความสะอาดฟัน




   7
มีรักในวัยเรียนทำให้ชีวิตสดชื่น




   8
ทำกิจกรรมร่วมกันกับสมาชิกใน
ครอบครัว




   9
เล่นกีฬาหรือออกกำลังกายให้เหมาะสม
กับตนเอง







  ที่

                
                    สุขบัญญัติ
                        
                        การปฏิบัติ

เป็นประจำ
     (4)
 บ่อยครั้ง
    (3)
นานๆ ครั้ง
    (2)
ไม่เคยเลย
    (1)
  10
ให้ความร่วมมือต่อชุมชนที่ตนอาศัย




  11
นอนหลับผักผ่อนวันละ  8 ชั่วโมง




  12
ใช้น้ำ  ไฟ  อย่างประหยัด  และคุ้มค่า




  13
ใช้โทรศัพท์มือถือโทรคุยกับเพื่อนทุกคืน




  14
ชอบรับประทานอาหารประเภท
ผักเเละผลไม้




  15
ซื้อยามารักษาตนเองเมื่อมีอาการ
ไม่สบาย